วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

แปล 6

What are transformers?
The name transformers is derived from the fact that when two coils are placed in close inductive proximity to one another the lines of force from one cut across the the turns of the other inducing an ac current, energy is transformed from one winding to another and this is called transformer action.
There are a great variety of transformers for a variety of applications including power transformers, audio transformers and rf transformers among others. All work on the above principle.
Power transformers
As the name implies a power transformer is designed to usually translate voltage from one level to another. Another type called a current transformer will not be discussed here. The schematic of a transformer is depicted in figure 1 below. Consider also the topics covered under power supplies where power transformers are used.




Figure 1. - general transformer schematic
Some power transformers have a centre tap on the secondary side. Note in figure 1 above the left hand side is usually denoted the "primary" whilst the right hand side is denoted the power transformers "secondary" side. Most power transformers are designed for frequencies in the region of 50 / 60 Hz which are the principle mains frquencies around the world.
Modern power transformers are wound on a "bobbin" which fits a core manufactured of materials to suit mains frequencies. The power handling capacity of a power transformer is determined by the physical size of the core and its properties. Design information is available from manufacturers. Ultimately the design information will provide the number of turns per volt. It is important to note that "toroid" power transformers are becoming increasingly popular and can handle larger amounts of power for the same physical dimensions and are thought by many "experts" to offer superior performance, particularly in higher power audio amplifiers.

============================================================
หม้อแปลงไฟฟ้าคืออะไร
คำว่าหม้อแปลงไฟฟ้ามาจาก เหตุผลที่ว่าเมื่อขดลวดสองขดเมื่อนำมาอยู่ใกล้ๆกันมากๆ พลังงานจากขดหนึ่งจะเหนี่ยวนำให้เกิดไฟ้ฟ้ากระแสสลับในอีกขดหนึ่ง
นั่นคือพลังงานจะถูกส่งผ่านจากขดลวดด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่งนั่นเอง
หม้อแปลงไฟ้ฟ้ามีหลายประเภทขึ้นกับจุดประสงค์การใช้งาน ตัวอย่างเช่น หม้อแปลงจ่ายไฟ หม้อแปลงความถีเสียง และความถี่วิทยุ แต่ทุกชนิดก็ใช้หลักการพื้นฐานเดียวกัน
หม้อแปลงจ่ายไฟถูกออกแบบเพื่อแปลงระดับศักดาไฟฟ้า(โวลต์) จากระดับไปเป็นอีกระดับหนึ่ง มีหม้อแปลงอีกประเภทคือหม้อแปลงกระแสซึ่งจะไม่กล่าวถึงในที่นี้

รูปสัญลักษณ์ของหม้อแปลงได้แสดงไว้ในรูปที่ 1




รูปที่ 1 สัญลักษณ์ของหม้อแปลง
หม้อแปลงบางลูกจะมี ขั้วต่อตรงกลาง (center tap) ในด้านทุติยภูมิ (secondary)
ให้สังเกตุจากรูปที่ 1 ด้านซ้ายของสัญลักษณ์ ปกติจะถูกระบุ เป็น ด้าน ปฐมภูมิ(primary)
และด้านขวาจะเป็น ทุติยภูมิ (secondary) หม้อแปลงจ่ายไฟส่วนมากจะออกแบบมาให้ใช้งานในย่านความถึ่ 50-60 เฮิรตซ์(HZ) ซึ่งเป็นความถึ่ของระบบไฟฟ้าที่ใช้กันทั่วโลก
หม้อแปลงจ่ายไฟในปัจจุบัน ขดลวดจะถูกพันอยู่บน "บอบบิ้น" กำลังของหม้อแปลงจะถูกกำหนดด้วยขนาดและคุณสมบัติของแกน ข้อมูลสำหรับการออกแบบ
จะหาได้จากผู้ผลิต ซึ่งจะใช้คานวณหาจำนวนรอบการพันต่อโวลต์ที่ต้องการ ควรทราบด้วยว่า หม้อแปลงแบบ ทอรอยด์ (toroid) กำลังได้รับความนิยมขึ้นมามากในปัจจุบันเนื่องจากรับกำลังไฟได้มากกว่าในขนาดทางกายภาพที่เท่ากันกับหม้อแปลงแบบธรรมดา
และผู้เชี่ยวชาญหลายคนก็เชื่อว่ามันให้ประสิทธิภาพการทำงานที่ดีกว่าโดยเฉพาะเมื่อนำไปใช้ในเครื่องเสียงระดับแรงขับสูง